วันพุธที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2558

โครงงาน เรื่อง:สวนผักลอยฟ้า(Hydroponics)








     ประโยนช์ที่ได้จากการทำโครงงาน

1. ได้รู้วิธีการทำโครงงานแบบเป็นขั้นตอน 2.ทำให้รู้จักหน้าที่ การทำงานร่วมกับผู้อื่น และมีความรับผิดชอบมากขึ้น 3. สามารถนำไปเป็นงานอดิเรกสร้างรายได้ 4. ได้รู้วิธีการปลูกผักแบบHydroponics 5. ได้รับรู้ถึงประโยชน์ในการปลูกผักแบบHydroponics








































วันพุธที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2558

คำศัพท์

1.Raw = กฏหมาย 
 2.Facility = สิ่งอำนวยความสะดวก 
 3.Storage = การเก็บรักษา 
 4.Material = วัตถุดิบ 
 5.Machinery = เครื่องจักรกล 
 6.Manufacturing = การผลิต 
 7.General = ทั่วไป 
 8.Copyright = ลิขสิทธิ์ 
 9.State = สถานะ 
 10.Official = เป็นทางการ 
 11.Related = ที่เกี่ยวข้อง 
 12.Contributions = การมีส่วนร่วม 
 13.Patent = สิทธิบัตร 
 14.Trademark = เครื่องหมายการค้า 
 15.Certification = ใบรับรอง 
 16.Advertising = การโฆษณา 
 17.Category = หมวดหมู่ 
 18.Distribution = การกระจาย 
 19.Imprisonment = การจำคุก 
 20.Piracy = การละเมิดลิขสิทธิ์

วันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2558

ใบงานที่ 2

ใบงานที่ 2


ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้

1.เว็บเบราเซอร์ (web browser) หมายถึงอะไร

เว็บเบราว์เซอร์ (อังกฤษ: web browser) เบราว์เซอร์ หรือ โปรแกรมค้นดูเว็บ คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ผู้ใช้สามารถดูข้อมูลและโต้ตอบกับข้อมูลสารสนเทศที่จัดเก็บในหน้าเวบที่สร้างด้วยภาษาเฉพาะ เช่น ภาษาเอชทีเอ็มแอล ที่จัดเก็บไว้ที่เว็บเซอร์วิซหรือเว็บเซิร์ฟเวอร์หรือระบบคลังข้อมูลอื่น ๆ โดยโปรแกรมค้นดูเว็บเปรียบเสมือนเครื่องมือในการติดต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เรียกว่าเวิลด์ไวด์เว็บ

เว็บเบราว์เซอร์ตัวแรกของโลกชื่อ เวิลด์ไวด์เว็บขณะเดียวกันเว็บเบราว์เซอร์ที่นิยมมากที่สุดในปัจจุบันคือ อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์


2. การทำงานของเว็บเบราว์เซอร์

การทำงานของบริการ WWW นี้จะมีลักษณะเช่นเดียวกันกับบริการอื่นๆ ของอินเทอร์เน็ต คืออยู่ในรูปแบบไคลเอ็นต์-เซิร์ฟเวอร์ (client - server) โดยมีโปรแกรมเว็บไคลเอ็นต์ (web client) ทำหน้าที่เป็นผู้ร้องขอบริการ และมีโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ (web server) ทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการ โปรแกรมเว็บไคลเอ็นต์ก็คือโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (web browser) นั่นเอง สำหรับโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์นั้นจะถูกติดตั้งไว้ในเครื่องของผู้ให้บริการเว็บไซต์ การิดต่อระหว่างโปรแกรมเว็บบราวเซอร์กับโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์จะกระทำผ่านโปรโตคอล HTTP (Hypertext Transfer Protocol) 

3. ตัวอย่างเว็บเบราว์เซอร์ มา 3 โปรแกรม









ใบงานที่3


ใบงานที่ 3


เรื่อง Web Browser ที่นักเรียนชอบมากที่สุด



ให้นักเรียน เลือก Web Browser ที่ชอบมากที่สุด

= GoogleChrome


กูเกิล โครม (อังกฤษ: Google Chrome) เป็นซอฟต์แวร์เว็บเบราว์เซอร์แบบโอเพนซอร์ซ พัฒนาโดยกูเกิล ใช้เว็บคิตเป็นเรนเดอริงเอนจินสำหรับวาดหน้าจอ และนำบางส่วนจากเว็บเบราว์เซอร์ไฟร์ฟอกซ์มาพัฒนาต่อ
โครมมีให้ดาวน์โหลดเพื่อทดสอบใช้งานสำหรับวินโดวส์ และมีภาษาที่ให้ใช้ได้มากกว่า 50 ภาษารวมถึงภาษาไทย รุ่นสำหรับ แมคโอเอส และ ลินุกซ์ นั้นกำลังอยู่ระหว่างการพัฒนา ซึ่งจะเปิดให้ทดสอบในอนาคต
โครมเป็นตัวพัฒนาจากโค้ดของซอฟต์แวร์ โครเมียม ซึ่งใช้สัญลักษณ์เดียวกัน แต่คนละสี

วันพุธที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2558

<ใบงานที่1>

ใบงานที่1


1. อินเทอร์เน็ต หมายถึงอะไร


= อินเทอร์เน็ต หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์นานาชาติที่มีสายตรงต่อไปยังสถาบันหรือหน่วยงานต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้รายใหญ่ทั่วโลก ผ่านโมเด็ม (modem) คล้ายกับ Compuserve ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) สามารถสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูล และโปรแกรมบางโปรแกรมมาใช้ได้ อย่างไรก็ตาม มีผู้เปรียบเทียบว่า อินเทอร์เน็ตเป็นเหมือนทางหลวงระหว่างประเทศ แต่ละประเทศจะต้องมีถนนเข้ามาเชื่อมต่อเข้าไปในประเทศ กล่าวคือ จะต้องมีเครือข่ายภายในรับช่วงต่ออีกทอดหนึ่ง (เช่น ไทยมี Chulanet, KSC , Infonews เป็นต้น ) มิฉะนั้นก็จะใช้ไม่ได้ผล







2.ประวัติความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย


= ปี พ.ศ. 2529 อาจารย์กาญจนา กาญจนสุต จากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT) ร่วมกับอาจารย์โทโมโนริ คิมูระ จากสถาบันเดียวกัน ร่วมสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยอาศัย
  • โมเด็ม NEC ความเร็ว 2400 Baud
  • เครื่องคอมพิวเตอร์พีซี NEC
  • สายโทรศัพท์ทองแดง
โดยเครือข่ายที่ได้ วิ่งด้วยความเร็ว 1200 - 2400 Baud และมีเสียงดังมาก จากนั้นได้ปรับเปลี่ยนไปใช้บริการไทยแพค ของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ซึ่งใช้เทคโนโลยี X.25 ผ่านการหมุนโทรศัพท์ไปยังศูนย์บริการของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ทำการรับส่งอีเมล์กับมหาวิทยาลัยโตเกียว และมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น โดยใช้โปรแกรม UUCP ตลอดจนส่งอีเมล์ไปยังบริษัท UUNET ที่เวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา และนำมาใช้กับงานของอาจารย์ และงานสอนนักศึกษาในเวลาต่อไป

นับได้ว่า อาจารย์กาญจนา กาญจนสุต เป็นบุคคลแรกที่เริ่มใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์รายแรกของประเทศไทย